การดูแล สุขภาพ ในปัจจุบันนี้เป็นสิ่งที่ไม่ควรมองข้าม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ป่วยมะเร็ง ถือได้ว่าเป็นกลุ่มผู้ที่มีความเสี่ยงสูงเป็นอย่างมาก และอาจจะถึงขั้นเกิดอาการรุนแรงได้มากกว่าคนที่ไม่มีโรค หรือ ไม่ได้มีอาการเจ็บป่วย
หากมีอาการติดเชื้อไวรัสโควิด-19 มีการแนะนำอย่างชัดเจน ให้รับวัคซีนชนิดเชื้อตาย ซึ่งเรียกได้ว่าจะเป็นอะไร ที่ปลอดภัยกว่าชนิดที่เชื้อยังมีชีวิตอยู่ ซึ่งมีการอ้างอิง โดยตรงมาจากสมาคมมะเร็ง สหรัฐอเมริกา เลยทีเดียว โดยที่มีการออกมาเปิดเผยว่าผู้ป่วยมะเร็งที่สิ้นสุด การรักษาแล้วหรือผู้ป่วย ที่มีประวัติของการเป็นมะเร็งมาก่อนนั้น รวมทั้งผู้ที่ดูแลผู้ป่วยมะเร็งเองนั้น ก็สามารถที่จะได้รับวัคซีนในทันที
แต่ผู้ป่วยที่กำลังอยู่ในระหว่างการรักษา ควรที่จะปรึกษาแพทย์ผู้ชำนาญการ ในการช่วยกำหนดช่วงเวลาที่เหมาะสมในการรับวัคซีน และเลือกในการรับอย่างถูกต้องอีกด้วย
แพทย์วัคซีนโควิด-19 แบบไหนเหมาะกับผู้ป่วย “มะเร็ง”
มีข้อมูลโดยตรงมาจากสมาคมมะเร็งแห่งชาติ สหรัฐอเมริกา และออกมาแนะนำเกี่ยวกับวัคซีน โควิด-19 เอาไว้ได้อย่างน่าสนใจว่าผู้ป่วยมะเร็งนั้น สามารถที่จะรับวัคซีน เพื่อที่จะสร้างภูมิคุ้มกันได้แต่ก็ต้องมีปัจจัยอื่นๆ เข้ามาในการประกอบการพิจารณาก่อนตัดสินใจ เลือกวัคซีนด้วยไม่ว่าจะเป็นทั้ง ประเภทของวัคซีน ประเภทของมะเร็งที่ผู้ป่วยเป็น ผู้ป่วยกำลังอยู่ในช่วงของการรักษามะเร็งหรือไม่ ระบบภูมิคุ้มกันของผู้ป่วย ทำงานปกติหรือยัง
จึงทำให้การเลือกวัคซีน ดังกล่าวนั้นให้แก่ผู้ป่วยมะเร็ง ควรที่จะใช้วัคซีนในชนิด “เชื้อตาย” (วัคซีนซิโนแวค และซิโนฟาร์ม) เท่านั้น จึงเป็นอะไรที่เหมาะสมกว่า เนื่องจากวัคซีนชนิดนี้ สามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้ดีกว่า วัคซีนที่มีเชื้อมีชีวิต ซึ่งผู้ป่วยมะเร็งเองนั้น จัดได้ว่าเป็นอีกหนึ่งกลุ่มที่ต้องดูแลอย่างใกล้ชิด
ผู้ป่วยมะเร็ง ควรที่จะรับวัคซีนได้ช่วงเวลาไหน
สำหรับผู้ป่วยมะเร็ง ในระยะของการสิ้นสุดการรักษาสามารถรับวัคซีนได้ในทันที แต่สำหรับผู้ที่กำลัง อยู่ในกระบวนการของการรักษาอยู่นั้น ควรที่จะรับคำปรึกษาจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ก่อนเพื่อที่จะเป็นตัวกำหนดและชี้วัด ว่าช่วงเวลาไหนที่เหมาะสมต่อการรับวัคซีน ของผู้ป่วยแต่ละรายด้วย เช่นเดียวกัน เพื่อลดความเสี่ยงของอาการข้างเคียง ที่อาจจะก่อให้เกิดขึ้นในระหว่างการฉีดวัคซีน
แนวทางการปฏิบัติ
สำหรับแนวทาง ของการปฏิบัติของผู้ป่วยมะเร็ง ทางด้านผู้เชี่ยวชาญ ได้ออกมาเปิดเผยว่านอกจากผู้สูงอายุ หรือคนที่มีโรคประจำตัวกับกลุ่มประชากรเสี่ยง ต้องการติดเชื้อแล้ว กลุ่มผู้ป่วยมะเร็งเองรวมไปถึงประวัติ ที่เคยเป็นโรคดังกล่าวมาก่อน นับว่าเป็นอีกหนึ่งกลุ่มเสี่ยง
หากติดเชื้อแล้วจะมีอาการรุนแรงขึ้นได้ด้วย เช่นเดียวกันเนื่องจากโรคดังกล่าวนั้น เป็นกระบวนการดูแลและรักษา ที่จะส่งผลต่อระบบภูมิคุ้มกันในร่างกาย ให้ต่ำลงและยังคงใช้ระยะเวลาในการฟื้นฟูที่นานกว่าคนปกติ
ดังนั้นการดูแล สุขภาพ ของตนเองกับผู้ป่วยกลุ่มนี้ จึงเป็นอีกแนวทางที่ควรปฏิบัติอย่างเคร่งครัดเพื่อลดความเสี่ยง ต่อการติดเชื้อไวรัส โควิด-19 อย่างเคร่งครัดด้วยเช่นเดียวกัน
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การ ใส่หน้ากากอนามัย หรือ หน้ากากผ้า เว้นระยะห่างจากผู้อื่น ควรล้างมือทำความสะอาด อยู่ตลอดเวลาไม่ว่าจะเป็น สบู่ หรือ เจลแอลกอฮอล์ หลีกเลี่ยงเข้าไปในพื้นที่ ที่คนหนาแน่นและแออัด